THE 5 CHALLENGES

วันที่: 02 ก.พ. 2565 13:00:09     แก้ไข: 22 ก.พ. 2565 16:28:44     เปิดอ่าน: 2,159     Blogs
หลายๆบริษัทเคยคาดหวังว่าปี 2021 จะเป็นปีที่เราสามารถตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงได้และมีแนวโน้มที่จะกลับสู่ภาวะปกติในไม่ช้า  แต่ในปัจจุบันก็ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงไปมากขนาดไหน ทุกธุรกิจทุกบริษัทและทุกๆพนักงานต่างก็ได้รับผลกระทบจากความผันผวนไม่แน่นอนซับซ้อนและคลุมเครือนี้ Long team plan แทบจะไม่ได้ใช้ พอๆกับ Vision ที่เปลี่ยนแปลงได้เป็นรายไตรมาส ในปี 2022 นี้ ก็ยังเห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง การเพิ่มขึ้นของสายพันธุ์โควิดใหม่ ๆ สงครามของ Talent ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว พนักงานในสาขาที่ต้องการมีไม่เพียงพอ นอกจากนี้การเพิ่มขึ้นของ Hybrid Working ส่งผลให้พนักงานไม่สามารถส่งมอบผลงานได้อย่างที่คาดหวัง จากการทำงานกับลูกค้าหลายๆบริษัทและการศึกษาวิเคราะห์เชิงลึกของ CFG เราพบว่า ความท้าทายในการทำธุรกิจในปี 2022 มีเรื่องหลักอยู่ 5 ด้าน ดังนี้

1. ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายเชิงธุรกิจ (Unable to Achieve Business Target)
2. การขาดแคลนพนักงานในกลุ่ม Talent (Talent Crunch)
3. การทำงานแบบ Hybrid ทำให้ความร่วมมือในการทำงานน้อยลง (Hybrid work causes low collaboration )
4. หัวหน้าไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป (No Leader Needed)
5. วิธีการทำงานที่เปลี่ยนไป (Changing the way of work)

Unable to Achieve Business Target

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของโลกในสองปีที่ผ่านมาส่งผลให้การคาดการณ์ต่าง ๆ ทางธุรกิจเป็นไปได้ยากขึ้น ทั้งความต้องการของลูกค้า ตลาดที่เปลี่ยนไป การแข่งขันทั้งกับคู่แข่งทั้งในและนอกธุรกิจ อีกทั้งยังมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่รวดเร็วจนแทบจะตามไม่ทัน จากปัจจัยทั้งหลายเหล่านี้ได้ลดทอนแประสิทธิภาพการทำงานขององค์กรลงจนส่งกระทบต่อผลการดำเนินงาน บริษัทส่วนใหญ่ไม่บรรลุเป้าหมายตามที่ตั้งไว้ ซึ่งความท้าทายนี้ไม่ได้ส่งผลเพียงแค่ในปีนั้นแต่อาจส่งผลต่อความอยู่รอดขององค์กรในระยะยาว



 

Talent Crunch

ในปี 2022 ปัญหาด้านการขาดTalents หรือ พนักงานที่มีความสามารถเห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Talent ที่มีความสามารถในการเรียนรู้ การปรับตัวอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีทักษะในด้านดิจิทัล หลายองค์กรมีแนวโน้มสูญเสีย talent ขององค์กรอันเนื่องมาจากความต้องการในตลาดแรงงานมีอยู่สูงมาก พนักงานในกลุ่มนี้มีการลาออกในอัตราที่สูง ในขณะเดียวกันองค์กรก็ไม่สามารถดึง Talent ในตลาดให้เข้ามาทำงานด้วยได้ และยังไม่สามารถพัฒนาพนักงานในปัจจุบันให้เป็น Talent ได้ทันใช้งาน



 

Hybrid work causes low collaboration

เกือบทุกองค์กรในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาใช้วิธีการทำงานแบบ Hybrid Working ทำให้พนักงานไม่ได้เจอหน้าทีมงานหรือหัวหน้า ทุกคนต้องทำงานอย่าง independent ส่งผลให้ขาดความร่วมมือและปฏิสัมพันธ์กันในระหว่างทีมซึ่งเป็นพื้นฐานของมนุษย์ หลายครั้งพนักงานไม่รู้ว่าควรจะทำอย่างไร การทำงานและการตัดสินใจขึ้นอยู่กับความเชื่อส่วนบุคคลเป็นหลัก เป้าหมายส่วนตัวเด่นชัดกว่าเป้าหมายของทีม ซึ่งการสร้าง Collaboration ในยุคนี้ก็แตกต่างไปจากการทำงานร่วมกันเป็นทีมสมัยก่อน ดังนั้นความท้าทายด้าน Collaborate ในยุค Hybrid Working จึงกลายเป็นปัญหาอย่างหนึ่งขององค์กร


 

No Leader Needed

หัวหน้าไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป ปัญหาด้านภาวะผู้นำเป็นปัญหาพื้นฐานของทุกองค์กรตั้งแต่อดีดมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าวันนี้บริบทการทำงานของผู้นำได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง บทบาทของหัวหน้าในฐานะผู้จัดการหรือผู้บังคับบัญชาไม่ว่าจะเป็นการตรวจสอบ การตัดสินใจ การชี้แนะหรือชี้นำล้วนไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป ในการทำงานแบบ Hybrid working พนักงานทุกคนต้องเรียนรู้ด้วยตนเองและทำงานได้อย่าง Independent บทบาทใหม่ของผู้นำคือการ Facilitate ทีมงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและสามารถบรรลุเป้าหมายได้ด้วยการเน้นให้ทีมงานมีอิสระและความคล่องตัวในการทำงานมากที่สุด ทั้งนี้ การวางแผนร่วมกัน การจัดลำดับความสำคัญให้ทีม และการทำงานอย่างมีระบบยังคงต้องมีอยู่ เพียงแต่ต้องเปลี่ยนจากการจัดการให้เป็นการ สนับสนุนเพื่อช่วยทีมทำงานให้สำเร็จ

 

Changing the way of work

วิกฤตโควิด 19 นำมาซึ่งการปรับตัวต่อการทำงานแบบใหม่ skill ใหม่ๆ หรืออาชีพใหม่ๆ สิ่งนี้เป็นความท้าทายที่เกิดขึ้นกับพนักงานทุกระดับ โลกที่เปลี่ยนเร็วส่งผลกระทบต่อทั้งวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ รวมถึงกระบวนการทำงานในองค์กร แม้ว่ายุคนี้ ทุกคนยอมรับการเปลี่ยนแปลงได้ง่ายขึ้น แต่ปัญหาคือ พนักงานสามารถเปลี่ยนแปลงได้เร็วและมีประสิทธิภาพเพียงพอในการผลักดันองค์กรให้ก้าวไปข้างหน้าหรือไม่ เราจึงเห็นเส้นแบ่งที่ชัดเจนระหว่างคนทำงานที่ปรับตัวต่อสถานการณ์ได้ดีและคนที่ยังปรับตัวไม่ได้

คนกลุ่มที่ปรับตัวได้ก็จะมีความสุขกับวิถีการทำงานแบบใหม่ แต่บางคนที่ปรับตัวไม่ได้ว่าเส้นแบ่งชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัวอยู่ตรงไหน ก็อาจเกิดภาวะเครียด หมดไฟ และหมดใจ ในการทำงานได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับทัศนคติและความสามารถของพนักงานเป็นสำคัญ

 

COACH FOR GOAL SOLUTIONS

จากความท้าทายทั้ง 5 ประเด็นที่เกิดขึ้นในปี 2021 ทาง Coach For Goal ได้วิเคราะห์และศึกษาแนวทางแก้ไขในแต่ละประเด็น เพื่อสามารถแก้ไขได้ตรงสาเหตุของปัญหามากที่สุด โดยได้ปรับให้เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก เพื่อเป็นส่วนสนับสนุนให้ทุกองค์กรสามารถก้าวข้ามผ่านความท้าทายที่เกิดขึ้นได้อย่างสำเร็จจนส่งผลดีต่อผลการดำเนินงานขององค์กร ได้แก่

  1. Increase Business Performance   (Read more)
  2. Develop & Engage Talents   (Read more)
  3. Create Team Collaboration   (Read more)
  4. Develop New Dimension of Leadership   (Read more)
  5. Plant the Change Mindset   (Read more)

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

4 วิธีสร้าง Work-Life Balance  แถมยังได้งานในช่วงวิกฤต สาเหตุที่ Work-Life Balance ของคนทำงานจะเปลี่ยนไปจากเดิมนั้น เพราะวิกฤตเศรษฐกิจในครั้งนี้ กำลังคืบคลานเข้ามา และแน่นอนว่าจะสร้างผลกระทบกับชีวิตการทำงานแต่ละคนไม่มากก็น้อย แล้วพนักงานต้องทำอย่างไร? ต้องโหมทำงานจนละเลยชีวิตตัวเองหรือไม่? มาดู 4 แนวทางที่จะช่วยสร้างให้สมดุลชีวิตและงานยังคงอยู่กัน
4 วิธีสร้าง Work-Life Balance แถมยังได้งานในช่วงวิกฤต

สาเหตุที่ Work-Life Balance ของคนทำงานจะเปลี่ยนไปจากเดิมนั้น เพราะวิกฤตเศรษฐกิจในครั้งนี้ กำลังคืบคลานเข้ามา และแน่นอนว่าจะสร้างผลกระทบกับชีวิตการทำงานแต่ละคนไม่มากก็น้อย แล้วพนักงานต้องทำอย่างไร? ต้องโหมทำงานจนละเลยชีวิตตัวเองหรือไม่? มาดู 4 แนวทางที่จะช่วยสร้างให้สมดุลชีวิตและงานยังคงอยู่กัน

7 ปัจจัย ฉุดผลประกอบการ ที่ผู้บริหารคาดไม่ถึง  เมื่อใดประเทศประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ มักจะกระทบต่อองค์กรด้วย ทำให้ผลประกอบการตกลง ซึ่งเมื่อต้องอธิบายว่าทำไมผลประกอบการต่ำลง ก็จะได้รับคำตอบเหมือนเดิมทุกครั้งคือ “ เศรษฐกิจไม่ดี” แต่สังเกตหรือไม่ว่า ในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจแย่ แต่ก็มีบางบริษัทที่ผลประกอบการ ไม่ได้แย่ตามไปด้วย เพราะความจริงแล้วภาวะเศรษฐกิจไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่กระทบผลประกอบการ แต่มันมีปัจจัยอื่นๆภายในองค์กรด้วย และปัจจัยเหล่านี้มักจะถูกมองข้ามไป นั่นคือ
7 ปัจจัย ฉุดผลประกอบการ ที่ผู้บริหารคาดไม่ถึง

เมื่อใดประเทศประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ มักจะกระทบต่อองค์กรด้วย ทำให้ผลประกอบการตกลง ซึ่งเมื่อต้องอธิบายว่าทำไมผลประกอบการต่ำลง ก็จะได้รับคำตอบเหมือนเดิมทุกครั้งคือ “ เศรษฐกิจไม่ดี” แต่สังเกตหรือไม่ว่า ในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจแย่ แต่ก็มีบางบริษัทที่ผลประกอบการ ไม่ได้แย่ตามไปด้วย เพราะความจริงแล้วภาวะเศรษฐกิจไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่กระทบผลประกอบการ แต่มันมีปัจจัยอื่นๆภายในองค์กรด้วย และปัจจัยเหล่านี้มักจะถูกมองข้ามไป นั่นคือ

5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่
5 กลยุทธ์ผู้นำที่ทำให้เกิด High Performance Environment

การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในวันนี้ หัวหน้างานที่ยังคงต้องทำบทบาทในการปรับทีมงานให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพื่อให้เกิดบรรยากาศแบบ High Performance Environment หรือ ทีมงานมีไฟมีพลังสู้รบกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่ง 5 วิธีที่หัวหน้าสามารถเริ่มทำได้ทันที ได้แก่

ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป
ทำไม? เมื่อผู้นำตั้งใจทำดีมากไป ผลที่ได้กลับกลายเป็นร้ายในทันที New

คุณมักได้ยินคำแนะนำมากมายเกี่ยวกับการเป็นผู้นำที่ดี เช่น ต้องรับฟังให้เยอะพูดให้น้อย ต้องเข้าอกเข้าใจ ต้องพัฒนาเรียนรู้ตลอดเวลา ต้องมีเหตุผล ต้องแสดงความรับผิดชอบและทำให้งานสำเร็จ สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นการกระทำที่ดีทั้งนั้น แต่รู้ไหมว่า จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคุณทำสิ่งข้างต้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป

การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้
การสื่อสาร 3 มิติ ที่หัวหน้าต้องรู้ เพื่อให้งานได้ผลลัพธ์ New

ถ้าพูดว่าการทำงานหลักๆของผู้บริหาร หรือหัวหน้า คือการสื่อสาร ภาพในหัวของหลายคนก็จะมีภาพว่าหัวหน้าต้อง present ได้เก่ง โน้มน้าวหรือ พูดได้รู้เรื่อง ซึ่งก็นับว่า จริง แต่แค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ต้องบริหารคนให้ทำงานให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ ดังนั้นการสื่อสารของหัวหน้าจึงมีหลากหลายมิติ โดยถ้าแยกแบบคร่าวๆ ก็จะมีอยู่ 3 มิติ ดังนี้

2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ
2 หัวใจสำคัญ การสื่อสาร ที่เป็นงานสำคัญของหัวหน้า New

จากที่เคยพูดถึงว่าทักษะสำคัญของหัวหน้าคือการสื่อสาร ซึ่งมีหลากหลายวัตถุประสงค์ ในโพสนี้ ขออธิบายการสื่อสารที่เป็นจุดเริ่มต้นของการทำงาน คือ”การสั่งงาน” ซึ่งดูแล้วเหมือนกับเรื่องง่ายๆ ที่ใครๆก็น่าจะสั่งงานได้ แต่หัวใจสำคัญคือ