21 - 30 of 43
หลักบริหารงานแบบหยิน-หยาง เพื่อจัดการการเปลี่ยนแปลง
หลักบริหารงานแบบหยิน-หยาง เพื่อจัดการการเปลี่ยนแปลง New New
แนวคิด หยิน-หยาง นี้เชื่อว่า พลังต่างๆ ในจักรวาลนั้นมี 2 ด้าน คือ หยิน และ หยาง ซึ่งเป็นพลังงานสองขั้วที่ตรงข้ามกัน ดังนั้น ในเครื่องหมายหยินหยางนั้น จึงมีสีตรงข้ามกัน คือ ดำ และ ขาว ดังนั้นในการรับมือความเปลี่ยนแปลงแบบแนวคิดเต๋า ก็มีสองด้านครับ นั่นคือ
อำนาจ 5 ประการ ที่ทำให้หัวหน้างานเป็นที่ยอมรับ
อำนาจ 5 ประการ ที่ทำให้หัวหน้างานเป็นที่ยอมรับ New New
การที่เราจะมีอิทธิพลต่อผู้อื่นได้นั้น สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้เลย คือ คุณจะต้องมีอำนาจบางอย่างที่ทำให้สามารถโน้มน้าว หรือ ต่อรอง ซึ่ง French และ Raven บอกว่าคุณจะต้องสร้างฐานของอำนาจจาก 5 ด้านนี้
อยากให้ feedback แล้ว ลูกน้องเปลี่ยน จะต้องทำอย่างไร?
อยากให้ feedback แล้ว ลูกน้องเปลี่ยน จะต้องทำอย่างไร?
feedback ก็คือ ข้อมูลย้อนกลับทุกๆ อย่างที่เกิดขึ้นหลังการกระทำเสมอ เพียงแต่ว่าถ้าเราอยากให้ feedback นั้น มีพลัง และนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้นั้น feedback ดังกล่าวจะต้องประกอบไปด้วย "เจตนาที่ดี" เป็นสารตั้งต้นครับ
 3 แนวทาง สร้างองค์กรดิจิทัลที่เริ่มจากคน
3 แนวทาง สร้างองค์กรดิจิทัลที่เริ่มจากคน
สาเหตุที่องค์กรต้องปรับตัวเป็นดิจิทัล ก็เพราะว่า โลกยุคดิจิทัลนี้เป็นยุคที่เทคโนโลยีก้าวกระโดด การปรับตัวให้ทัน แต่จริงๆ แลัว เทคโนโลยีเป็นแค่ส่วนหนึ่ง เพราะ การปรับคนให้ทำงานกับสิ่งรอบตัวที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วต่างหากที่เป็น Key สำคัญจริงๆ เพราะ ปกติแล้ว คนเราก็ปรับตัวได้ช้ากว่าเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยู่แล้ว การจะทำให้ Digital Transformation นี้สำเร็จ จึงอยู่ที่ว่า "ใครจะปรับคนได้เร็วกว่ากัน"
4 สิ่งที่ช่วยให้คุณตั้งหลัก จากความล้มเหลวได้ (4 Pillars of resilience)
4 สิ่งที่ช่วยให้คุณตั้งหลัก จากความล้มเหลวได้ (4 Pillars of resilience)
เมื่อพูดถึง Resilience หรือการฟื้นตัวจากความล้มเหลว นั้น หลายคนอาจนึกแต่ด้านการทำงาน แต่แท้จริง พลังแห่งการล้มแล้วลุก ควรในวิถีชีวิตของเราตลอดเวลา เพื่อให้เราผ่านอุปสรรคในชีวิตได้ เช่น ความเสียใจจากความผิดหวัง หรือ ความเศร้าโศกจากการสูญเสียใดๆ ดังนั้น การพัฒนาความสามารถในการฟื้นตัวนี้ จึงไม่ต้องพึ่งแต่การอบรมในห้องเรียน แต่เราสามารถสร้างมันได้จากการพัฒนา 4 เสาหลัก ดังนี้ครับ
ปัญหาทัศนคติ  7 ด้าน ที่ทำให้ผลการทำงานแย่ลงกว่าเดิม
ปัญหาทัศนคติ 7 ด้าน ที่ทำให้ผลการทำงานแย่ลงกว่าเดิม New New
ความสำคัญของความคิดนี้ คือ ความคิดจะทำให้เกิดการกระทำตามมา (Action) ดังนั้น ความคิดนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะส่งผลต่อการทำงานของพนักงาน หรือ ลูกน้องของเราอย่างมากครับ เมื่อเป็นหัวหน้างาน นอกจากรู้ว่า ผลงานที่ไม่ perform ของพนักงาน เกิดจากทัศนคติบางอย่างที่ผิดเพี้ยนไปแล้ว สิ่งถัดมาที่ต้องทำ ก็คือ ต้องวิเคราะห์ให้ได้ว่า "ที่ทัศนคติเขาไม่เหมาะสม จนทำให้กระทบผลการทำงานนั้น เกิดจากความคิดด้านไหน" กันแน่?
Top 5 Business Challenges To Watch In 2022
Top 5 Business Challenges To Watch In 2022
แม้หลายองค์กรได้มีการปรับตัว เพื่ออยู่ในรอดในสถานการณ์ดังกล่าว แต่เนื่องจากความรุนแรงที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลกทำให้การปรับตัวนี้ส่งผลในเชิงบวกได้อย่างไม่เร็วนัก The COVID-19 ได้ดิสรัปแผนการต่างๆของบริษัทเป็นจำนวนมาก และบีบบังคับให้ธุรกิจต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วและ ใช้มาตรฐานการทำงานใหม่ๆ และต้องหันไปพึ่งพาธุรกิจดิจิตัลมากยิ่งขึ้น
ทำไมผู้นำยุคใหม่ ต้องใช้ Inclusive Leadership?
ทำไมผู้นำยุคใหม่ ต้องใช้ Inclusive Leadership?
หัวหน้ายุคใหม่ต้องทำอย่างไร ให้ทีมงานสามารถโอบรับความ "แตกต่าง" นั้นได้ แต่ไม่ทำให้ทีม "แตกหัก" ไปเสียก่อน เอาแค่เรื่องวัย เรื่อง Generation อย่างเดียว นี่ก็ทำเอาคนในทีมปวดหัวมากแล้วครับ คำตอบของเรื่องนี้ ก็คือ ทีมจะต้องมีผู้นำที่สามารถ "หลอมรวมใจ และผสานให้ทีมเป็นหนึ่งเดียว" ได้ หรือ ที่เรียกภาษาอังกฤษแบบเท่ๆ ว่า Inclusive Leader
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
การพยามยามช่วยให้ใครสักคน เปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดีขึ้น ฟังแล้วเป็นเรื่องยาก​ ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้าที่อยากให้ลูกน้องปรับปรุง พัฒนาการทำงาน หรือแม้แต่คนใกล้ชิดที่เราหวังดีอยากให้เขาเปลี่ยนตัวเอง เพราะคนแต่ละคนต่างก็มีความนิสัยติดตัว มีความเคยชินต่างกัน แม้ว่าจะมีความหวังดีอยากให้เขาพัฒนา ก็อาจจะโดนหาว่าไปยุ่งวุ่นวายชีวิตเขาเปล่าๆ ดังนั้นการจะช่วยให้ใครสักคนพัฒนาตนเอง จึงต้องมีวิธีการที่เหมาะสมด้วย เคล็ดลับทั้งสี่ข้อที่ว่า ก็คือ
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และ Y ของ Douglas McGregor แนวคิดนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ ครึ่งศตวรรษก่อน ราวๆ ต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 โน่น (ราวๆ 1960) ซึ่งเป็นยุคต้นของดิจิทัลเลย เพราะช่วงที่คอมพิวเตอร์เกิดพอดี ซึ่งทฤษฎีนี้อธิบายว่า มุมมองของผู้นำที่มีต่อพนักงาน มี 2 แบบ คือ
21 - 30 of 43