111 - 120 of 122
ปากและใจไปไวกว่าความคิด (ภาคขยาย)
ปากและใจไปไวกว่าความคิด (ภาคขยาย)
กรณีศึกษา เพราะปากและใจไปไวกว่าความคิด (ภาคขยาย) เพราะดราม่ามีทุกวัน เราจึงต้องเรียนรู้จากดราม่าเข้าไว้ ไม่มีปราชญ์ที่ไหนกล่าว แอดอ้วนกล่าว เมื่อจงคิดทุกอย่างที่พูดแต่อย่าพูดทุกอย่างที่คิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ในเวลาโกรธ” เครื่องกำกับความโกรธคือ “สติ” เพราะอย่างที่ได้กล่าวไว้ในบทความที่แล้วว่า การตัดสินอะไรไปล่วงหน้า หรือการคิดเอาเอง อาจส่งผลร้ายกว่าที่คิด เพราะรากความคิดหรือทัศนคติคิดเช่นใด
เริ่มต้นสัปดาห์ยังไง ให้งานวิ่งฉิว
เริ่มต้นสัปดาห์ยังไง ให้งานวิ่งฉิว
วันจันทร์แบบนี้ ต้องเริ่มต้นการทำงานยังไง ถึงจะมีชัยไปกว่าครึ่ง บรรดาผู้นำระดับโลกต่างก็มีธรรมเนียมการเริ่มต้นทำงานในวันจันทร์ ที่จะช่วยให้ออกตัวทำงานต้นวีคได้แรงกว่าเดิม มาดูกันว่าแต่ละคนมีเคล็ดลับยังไงบ้าง
บริษัทซอมบี้
บริษัทซอมบี้
"บริษัทซอมบี้" (Zombie firm) เป็นฉายาของบริษัทไม่สามารถทำกำไร แต่ก็ยังอยู่รอดในธุรกิจได้ แม้ว่าจะอยู่ในแบบครึ่งผีครึ่งคน เป็น Living dead ไปเรื่อยๆ ก็ตาม งานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ของ IMF นิยาม "บริษัทซอมบี้" ไว้ว่า เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการมากกว่า 10 ปี แต่กำไรของบริษัทไม่พอที่จะจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ของแบงก์ได้ต่อเนื่องกัน 3 ปี
หัวหน้าแบบ ลม และพระอาทิตย์
หัวหน้าแบบ ลม และพระอาทิตย์
นิทานเด็กยังสอนผู้ใหญ่ได้ หากค่อยๆอ่านและคิดตามไป อย่างเช่น เรื่องลมกับพระอาทิตย์ ก็เป็นเรื่องที่สอนภาวะผู้นำได้ดี ไม่แพ้หลักการใดเลย หากท่านใดลืมเนื้อหา เพราะเลยวัยเด็กมาเนิ่นนานแล้ว ผมก็ขอช่วยทวนคร่าวๆ ดังนี้ คงไม่ว่ากันนะครับ
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
"คินสึงิ (Kintsugi)" คือ แนวคิดหนึ่งที่ช่วยเยียวยา จิตใจบอบช้ำที่เกิดจากความล้มเหลว ให้กลับมาเข้มแข็งอีกครั้ง ความผิดพลาดในอดีตของคน หากรู้จักวิธีประสานรอยร้าวของจิตใจ ช่วงเวลาอันเจ็บปวดของชีวิตนั้น ก็ผันเป็นหนทางพัฒนาศักยภาพที่ตัวเองมีได้ เพียงกาวที่ใช้นั้น ไม่ใช่สสารทางกายภาพแต่เป็นชุดความคิด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
วงจรการโทษกันแบบ "กบร้องเพราะท้องปวด" มีเพื่ออธิบายเหตุผล ที่มาที่ไปของความผิดพลาดที่ "ดูเหมือนสมเหตุสมผล" แต่ก็ไม่ได้ช่วยให้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ไม่ต่างกับเพลงกบปวดท้อง ที่เริ่มอธิบายปัญหา และวนหาสาเหตุที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ท้ายสุดมันก็วนมาที่จุดเริ่มต้น แล้ววนเป็นลูปใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? เหตุผลของการกระทำแบบนี้ มีคำตอบเดียว คือ เป็นธรรมชาติของคน ที่มักอธิบายทุกสิ่งที่ตนทำไป เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีต่อใจ และดำรงไว้ซึ่งความภูมิใจในตนเอง แม้ว่าคำอธิบายนั้น มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?" เป็นคำถามสั้นๆ เหมือนตอบไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่ายที่จะตอบได้ บางคนจะอยู่กับตัวเองมาหลายสิบปี ก็อาจใช้เวลาเป็นสิบๆ นาที กว่าจะบรรยายได้ว่า ตัวเองเป็นคนแบบไหน นิสัยยังไง?
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ
Defense Mechanisms ในที่ทำงาน
Defense Mechanisms ในที่ทำงาน
ในแต่ละวัน ที่ทำงานเราเต็มไปด้วยความเครียดทั้งจากตัวงานและตัวคน ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายองค์กรที่หนักอึ้ง ความคาดหวังและมาตรฐานการทำงานจากหัวหน้า หรือ ความขัดแย้งจากเพื่อนร่วมงานที่คิดต่างกัน ฯลฯ
111 - 120 of 122