61 - 70 of 122
10 พฤติกรรมผู้นำ ที่เป็นบ่อนทำลาย Leadership Culture
10 พฤติกรรมผู้นำ ที่เป็นบ่อนทำลาย Leadership Culture
Leadership Culture คือ วิธีการที่ผู้นำลงมือทำงานต่างๆ ในองค์กรให้ลุล่วง แต่ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ (หรือปล่อยปละละเลย) ทำให้ผู้นำในหลายๆ องค์กรกลายเป็นคนทำให้มันอ่อนแอลงไปเสียอย่างนั้น ซึ่งสัญญาณของพฤติกรรมผู้นำ ที่จะเป็นบ่อนทำลาย Leadership Culture นี้ สังเกตได้จาก 10 พฤติกรรมนี้
6 พฤติกรรม เมื่อหัวหน้า เริ่มอิจฉาผลงานลูกน้อง
6 พฤติกรรม เมื่อหัวหน้า เริ่มอิจฉาผลงานลูกน้อง
การชอบเปรียบเทียบเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าสถานการณ์นี้ดันมาเกิดในที่ทำงานล่ะ จะเป็นยังไง แถมเกิดกับใครไม่เกิดมาเกิดกับบอสตัวเอง ซึ่งเป็นคนที่คงไม่มีใครอยากจะไปต่อล้อต่อเถียงด้วย คงอึดอัดพิลึก งานวิจัยบอกว่า เมื่อ "บอสที่รัก" ของคุณ เกิดรู้สึกว่าตัวเองด้อยกว่า หลายๆคน ก็จะเกิดความอิจฉา และการกระทำที่ตามมาจะมีสองแบบใหญ่ คือ
ปัญหาทัศนคติ  7 ด้าน ที่ทำให้ผลการทำงานแย่ลงกว่าเดิม
ปัญหาทัศนคติ 7 ด้าน ที่ทำให้ผลการทำงานแย่ลงกว่าเดิม New New
ความสำคัญของความคิดนี้ คือ ความคิดจะทำให้เกิดการกระทำตามมา (Action) ดังนั้น ความคิดนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะส่งผลต่อการทำงานของพนักงาน หรือ ลูกน้องของเราอย่างมากครับ เมื่อเป็นหัวหน้างาน นอกจากรู้ว่า ผลงานที่ไม่ perform ของพนักงาน เกิดจากทัศนคติบางอย่างที่ผิดเพี้ยนไปแล้ว สิ่งถัดมาที่ต้องทำ ก็คือ ต้องวิเคราะห์ให้ได้ว่า "ที่ทัศนคติเขาไม่เหมาะสม จนทำให้กระทบผลการทำงานนั้น เกิดจากความคิดด้านไหน" กันแน่?
Top 5 Business Challenges To Watch In 2022
Top 5 Business Challenges To Watch In 2022
แม้หลายองค์กรได้มีการปรับตัว เพื่ออยู่ในรอดในสถานการณ์ดังกล่าว แต่เนื่องจากความรุนแรงที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลกทำให้การปรับตัวนี้ส่งผลในเชิงบวกได้อย่างไม่เร็วนัก The COVID-19 ได้ดิสรัปแผนการต่างๆของบริษัทเป็นจำนวนมาก และบีบบังคับให้ธุรกิจต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วและ ใช้มาตรฐานการทำงานใหม่ๆ และต้องหันไปพึ่งพาธุรกิจดิจิตัลมากยิ่งขึ้น
ทำไมผู้นำยุคใหม่ ต้องใช้ Inclusive Leadership?
ทำไมผู้นำยุคใหม่ ต้องใช้ Inclusive Leadership?
หัวหน้ายุคใหม่ต้องทำอย่างไร ให้ทีมงานสามารถโอบรับความ "แตกต่าง" นั้นได้ แต่ไม่ทำให้ทีม "แตกหัก" ไปเสียก่อน เอาแค่เรื่องวัย เรื่อง Generation อย่างเดียว นี่ก็ทำเอาคนในทีมปวดหัวมากแล้วครับ คำตอบของเรื่องนี้ ก็คือ ทีมจะต้องมีผู้นำที่สามารถ "หลอมรวมใจ และผสานให้ทีมเป็นหนึ่งเดียว" ได้ หรือ ที่เรียกภาษาอังกฤษแบบเท่ๆ ว่า Inclusive Leader
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
4 วิธีง่ายๆ ที่ช่วยให้คนรอบกายเก่งขึ้น
การพยามยามช่วยให้ใครสักคน เปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดีขึ้น ฟังแล้วเป็นเรื่องยาก​ ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้าที่อยากให้ลูกน้องปรับปรุง พัฒนาการทำงาน หรือแม้แต่คนใกล้ชิดที่เราหวังดีอยากให้เขาเปลี่ยนตัวเอง เพราะคนแต่ละคนต่างก็มีความนิสัยติดตัว มีความเคยชินต่างกัน แม้ว่าจะมีความหวังดีอยากให้เขาพัฒนา ก็อาจจะโดนหาว่าไปยุ่งวุ่นวายชีวิตเขาเปล่าๆ ดังนั้นการจะช่วยให้ใครสักคนพัฒนาตนเอง จึงต้องมีวิธีการที่เหมาะสมด้วย เคล็ดลับทั้งสี่ข้อที่ว่า ก็คือ
5 แนวทางเพิ่มทักษะล้มแล้วลุกไว (Resilleince) ตามสไตล์ Harvard Business Review
5 แนวทางเพิ่มทักษะล้มแล้วลุกไว (Resilleince) ตามสไตล์ Harvard Business Review
Resilleince คือ อะไร? ในการทำงานยุคนี้ เราได้ยินคำนี้กันบ่อยๆ ครับ ส่วนใหญ่ก็จะใช้ทับศัพท์ เพื่ออธิบายถึงทักษะในการล้มแล้วต้องลุกให้เร็ว ความหมายตรงตัวของคำนี้ ก็คือ "ความยืดหยุ่น" แต่มันก็ไปพ้องกับ Flexible ที่แปลเหมือนกันว่า ความยืดหยุ่นด้วย แต่ Resilleince ต่างจาก Flexibility ตรงที่
4 ข้อสังเกต ต้องทำงานแบบไหน ถึงเรียกว่าเป็นทีม?
4 ข้อสังเกต ต้องทำงานแบบไหน ถึงเรียกว่าเป็นทีม?
ดูเผินๆ แล้ว เราอาจคิดว่า ทุกวันนี้เราทำงานเป็นทีมกันอยู่นะครับแต่หากมองดูจริงๆ แล้ว สมาชิกในทีม อาจจะแค่มานั่งทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มเฉยๆ ไม่ได้มีความเป็นทีมเลยก็ได้นะ แล้วต้องทำงานอย่างไร ถึงจะเรียกว่าเป็นทีมล่ะ? ต้องดูจากข้อสังเกตต่อไปนี้
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 4 Digital Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 4 Digital Skills)
ทักษะด้านดิจิทัลคืออะไร? เพราะหลายๆ ครั้งเราบอกทักษะดิจิทัลๆ มันกว้างจนหลายคนตีความในแบบที่ตัวเองเข้าใจ เช่น เขียนโปรแกรมบ้าง ใช้ Software เป็นบ้าง ฯลฯ ดังนั้น สำหรับตอนนี้ผมขอสรุปแบบง่ายเลยละกันว่า คุณจะต้องมี 3 ด้านนี้ คือ
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 3 Interpersonal Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 3 Interpersonal Skills) New New
ในโลกใหม่นี้ ทักษะด้านคน เน้นไปเรื่องความเป็นมนุษย์และการเชื่อมโยงกัน แบบ networking มากขึ้นครับ เพราะว่า เป็นที่ประจักษ์แล้วว่าหลายๆ ครั้ง คนเราถูกขับเคลื่อนด้วยอารมณ์มากกว่าเหตุผล และต้องช่วยกันให้ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและรวดเร็ว และหากคนเราเชื่อมโยงกันด้านอารมณ์ความรู้สึกได้ จะเกิดพลังที่เรียกว่า 1+1 มากกว่า 2 และสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้องค์กรได้เยอะมากๆครับ
61 - 70 of 122