21 - 28 of 28
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ยังคงใช้ได้ หรือ ควรเก็บไปเข้ากรุดี?
ทฤษฎี X และ Y ของ Douglas McGregor แนวคิดนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ ครึ่งศตวรรษก่อน ราวๆ ต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 โน่น (ราวๆ 1960) ซึ่งเป็นยุคต้นของดิจิทัลเลย เพราะช่วงที่คอมพิวเตอร์เกิดพอดี ซึ่งทฤษฎีนี้อธิบายว่า มุมมองของผู้นำที่มีต่อพนักงาน มี 2 แบบ คือ
ถอดรหัสทีมทำงาน NetFlix
ถอดรหัสทีมทำงาน NetFlix
ทีมของ NetFlix ขึ้นชื่อว่า เป็นทีมที่รวดเร็วและทรงประสิทธิภาพ การปรับทีมทำงานของเขานี้เป็นจุดเด่นมานานแล้ว และการทำงานอย่างรวดเร็วเป็นกุญแจสำคัญในการพลิกสถานการณ์ให้กลับมาแข่งขันทางธุรกิจได้ดีมากๆ
การปรับทีมงานเพื่อรับวิกฤต ต้องเริ่มอย่างไร
การปรับทีมงานเพื่อรับวิกฤต ต้องเริ่มอย่างไร
วิกฤตโควิด-19 รอบสอง หรือ รอบต่อๆไป อาจเกิดขึ้นได้เสมอ ตราบใดที่วัคซีนยังไม่ออกมา แต่ธุรกิจต้องปรับตัวและหาวิธีดำเนินการไปให้ได้ ลองใช้วิธีการปรับทีมแบบ Formation X เพื่อเตรียมพร้อมและทำให้องค์กรเดินหน้าได้ แม้วิกฤตยังไม่คลี่คลายแบบสมบูรณ์
เมื่อปลาเร็วกินปลาช้า หัวหน้าต้องปรับตัวอะไรบ้าง?
เมื่อปลาเร็วกินปลาช้า หัวหน้าต้องปรับตัวอะไรบ้าง?
ปัจจุบัน เรามาถึงยุคที่ "ปลาเร็วกินปลาช้า" แล้วครับ ยุคนี้ เป็นทั้งโอกาสและวิกฤติ เพราะ ทุกธุรกิจ หรือ "ปลาทุกขนาด" สามารถเติบโตได้ ถ้ามี "ความเร็ว" ในการปรับตัวที่เพียงพอ ยิ่งถ้าเร็วและแม่นยำ ก็จะทำให้องค์กรว่ายผ่านคลื่นแห่งการเปลี่ยนแปลงได้อย่างราบรื่นไม่ถูกพัดหายไป กับ Disruption ที่ถาโถมเข้ามา
PerformanceSprint
PerformanceSprint
PerformanceSprint เพราะวิ่งคนเดียวไปได้ไว แต่วิ่งให้ไกลต้องไปเป็นทีม เพราะการ Sprint หรือการวิ่งเร็วแบบเต็มฝีเท้าด้วยความเร็วสูงสุดที่มี ทำให้เราไปวิ่งไปจนถึงเส้นชัย แต่ในฐานะผู้จัดการหรือหัวหน้างาน เราไม่อาจจะ Sprint เพียงคนเดียวลำพังเพื่อให้ทีมไปถึงเป้าหมาย เพราะในชีวิตการทำงานไม่ใช่แค่การวิ่ง 100 เมตร แต่คือการวิ่งมาราธอนแบบส่งไม้ผลัดที่ต้องรักษาทั้งความเร็ว รักษาระยะและรักษาความสัมพันธ์ในการทำงานเป็นทีม และเพื่อทำให้ทีมงานไปถึงเป้าหมายได้ในเวลาอันรวดเร็วโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
ภาวะ “Boreout Syndrome”
ภาวะ “Boreout Syndrome”
ภาวะ “Boreout Syndrome” กรณีศึกษา “ภาวะเบื่องาน” เมื่องานน้อยไป ใจจึงอ่อนแรง แต่เชื่อหรือไม่ว่านอกจากงานหนักและภาวะตึงเครียดที่ทำให้คนหมดไฟและหมดใจ งานที่น้อยเกินไปและไม่ท้าทายก็สามารถทำให้เกิดภาวะถดถอยในการทำงานได้เช่นกัน “Boreout Syndrome” เป็นภาวะของการเบื่อในงานที่ทำ รู้สึกว่างานที่ทำไม่มีคุณค่า ไม่ตอบสนองและส่งเสริมศักยภาพที่มีอยู่ของตนเอง หรืออาจจะเรียกว่าขาดแรงบันดาลใจ ในการทำงานก็ย่อมได้
On-site Workshop
On-site Workshop
ทุกหลักสูตรของ Coach For Goal ได้ถูกออกแบบมาโดยมุ่งเน้นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผู้เข้าอบรม สร้างแรงจูงใจ ในการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาตนเอง
21 - 28 of 28