81 - 90 of 96
เริ่มต้นสัปดาห์ยังไง ให้งานวิ่งฉิว
เริ่มต้นสัปดาห์ยังไง ให้งานวิ่งฉิว
วันจันทร์แบบนี้ ต้องเริ่มต้นการทำงานยังไง ถึงจะมีชัยไปกว่าครึ่ง บรรดาผู้นำระดับโลกต่างก็มีธรรมเนียมการเริ่มต้นทำงานในวันจันทร์ ที่จะช่วยให้ออกตัวทำงานต้นวีคได้แรงกว่าเดิม มาดูกันว่าแต่ละคนมีเคล็ดลับยังไงบ้าง
ร่วมกันขจัดโรคซึมเศร้าในที่ทำงาน
ร่วมกันขจัดโรคซึมเศร้าในที่ทำงาน
เวลาที่เราได้เห็นข่าวคนปลิดชิวิตตนเองจากปัญหาโรคซึมเศร้า “เรา” ในฐานะคนธรรมดา ก็มักจะคิดว่า ทำไมและเพราะอะไรถึงได้ตัดสินใจแบบนี้ ทำไมไม่คิดถึงวันข้างหน้า ชีวิตมันก็เป็นแบบนี้มีความทุกข์ด้วยกันทุกคน ทำไมไม่สู้ ทำแบบนี้คนข้างหลังจะอยู่อย่างไร คำถามมากมายเกิดขึ้นในใจแล้ว”เรา”ก็ลืมเลือนมันไป
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า เมื่อ Saturday is not a sad day ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีงานวิจัยรองรับว่า การทำงาน 4 วันต่อสัปดาห์ส่งผลดีต่อประสิทธิภาพในการทำงานมากขึ้น รวมทั้งมีหลายๆประเทศเริ่มทดลองทำงาน 4 วัน เช่นในเยอรมันและนิวซีแลนด์ แต่ในเมื่อกฏหมายแรงงานของไทยกำหนดไว้ในเรื่องของเวลาการทำงานไว้ว่า ไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จึงยังมีหลายๆบริษัทในปัจจุบันที่ยังทำงานวันจันทร์ถึงวันเสาร์
บริษัทซอมบี้
บริษัทซอมบี้
"บริษัทซอมบี้" (Zombie firm) เป็นฉายาของบริษัทไม่สามารถทำกำไร แต่ก็ยังอยู่รอดในธุรกิจได้ แม้ว่าจะอยู่ในแบบครึ่งผีครึ่งคน เป็น Living dead ไปเรื่อยๆ ก็ตาม งานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ของ IMF นิยาม "บริษัทซอมบี้" ไว้ว่า เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการมากกว่า 10 ปี แต่กำไรของบริษัทไม่พอที่จะจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ของแบงก์ได้ต่อเนื่องกัน 3 ปี
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
"คินสึงิ (Kintsugi)" คือ แนวคิดหนึ่งที่ช่วยเยียวยา จิตใจบอบช้ำที่เกิดจากความล้มเหลว ให้กลับมาเข้มแข็งอีกครั้ง ความผิดพลาดในอดีตของคน หากรู้จักวิธีประสานรอยร้าวของจิตใจ ช่วงเวลาอันเจ็บปวดของชีวิตนั้น ก็ผันเป็นหนทางพัฒนาศักยภาพที่ตัวเองมีได้ เพียงกาวที่ใช้นั้น ไม่ใช่สสารทางกายภาพแต่เป็นชุดความคิด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
วงจรการโทษกันแบบ "กบร้องเพราะท้องปวด" มีเพื่ออธิบายเหตุผล ที่มาที่ไปของความผิดพลาดที่ "ดูเหมือนสมเหตุสมผล" แต่ก็ไม่ได้ช่วยให้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ไม่ต่างกับเพลงกบปวดท้อง ที่เริ่มอธิบายปัญหา และวนหาสาเหตุที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ท้ายสุดมันก็วนมาที่จุดเริ่มต้น แล้ววนเป็นลูปใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?" เป็นคำถามสั้นๆ เหมือนตอบไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่ายที่จะตอบได้ บางคนจะอยู่กับตัวเองมาหลายสิบปี ก็อาจใช้เวลาเป็นสิบๆ นาที กว่าจะบรรยายได้ว่า ตัวเองเป็นคนแบบไหน นิสัยยังไง?
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ
กรณีศึกษาเมื่อมองโลกด้วยแว่นตาสีเทา โรคซึมเศร้าในมนุษย์เงินเดือน
กรณีศึกษาเมื่อมองโลกด้วยแว่นตาสีเทา โรคซึมเศร้าในมนุษย์เงินเดือน
เพราะในวัย 35-50ปี อาจจะเป็นช่วง Middle crisis หรือวิกฤติชีวิตวัยกลางคน ที่ใครหลายๆคนในช่วงอายุดังกล่าวต้องแบกรับความกดดัน ทั้งจากในเรื่องหน้าที่การงาน หนี้สิน ปัญหาทางบ้านและปัญหาสุขภาพที่เริ่มถามหาในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป
ภาวะ “Burnout” ตอนที่ 3: กรณีศึกษา Brownout “ภาวะหมดใจ” แต่ไฟยังมี
ภาวะ “Burnout” ตอนที่ 3: กรณีศึกษา Brownout “ภาวะหมดใจ” แต่ไฟยังมี
“Brownout” เป็นอาการของคนทำงานที่รู้สึกเหนื่อยหน่ายไม่มีความสุข ทุกข์ทนกับเงื่อนไขและระบบขององค์กร และมักจะไม่แสดงอาการให้เห็น มีแต่เจ้าตัวที่รู้ว่า ตัวเองจะมีอาการเหมือนถูกกดดันตลอดเวลา
81 - 90 of 96