ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า
ทำงานวันเสาร์อย่างไรไม่ให้เศร้า เมื่อ Saturday is not a sad day ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีงานวิจัยรองรับว่า การทำงาน 4 วันต่อสัปดาห์ส่งผลดีต่อประสิทธิภาพในการทำงานมากขึ้น รวมทั้งมีหลายๆประเทศเริ่มทดลองทำงาน 4 วัน เช่นในเยอรมันและนิวซีแลนด์ แต่ในเมื่อกฏหมายแรงงานของไทยกำหนดไว้ในเรื่องของเวลาการทำงานไว้ว่า ไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จึงยังมีหลายๆบริษัทในปัจจุบันที่ยังทำงานวันจันทร์ถึงวันเสาร์
ภาวะ “Boreout Syndrome”
ภาวะ “Boreout Syndrome”
ภาวะ “Boreout Syndrome” กรณีศึกษา “ภาวะเบื่องาน” เมื่องานน้อยไป ใจจึงอ่อนแรง แต่เชื่อหรือไม่ว่านอกจากงานหนักและภาวะตึงเครียดที่ทำให้คนหมดไฟและหมดใจ งานที่น้อยเกินไปและไม่ท้าทายก็สามารถทำให้เกิดภาวะถดถอยในการทำงานได้เช่นกัน “Boreout Syndrome” เป็นภาวะของการเบื่อในงานที่ทำ รู้สึกว่างานที่ทำไม่มีคุณค่า ไม่ตอบสนองและส่งเสริมศักยภาพที่มีอยู่ของตนเอง หรืออาจจะเรียกว่าขาดแรงบันดาลใจ ในการทำงานก็ย่อมได้
บริษัทซอมบี้
บริษัทซอมบี้
"บริษัทซอมบี้" (Zombie firm) เป็นฉายาของบริษัทไม่สามารถทำกำไร แต่ก็ยังอยู่รอดในธุรกิจได้ แม้ว่าจะอยู่ในแบบครึ่งผีครึ่งคน เป็น Living dead ไปเรื่อยๆ ก็ตาม งานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ของ IMF นิยาม "บริษัทซอมบี้" ไว้ว่า เป็นบริษัทที่ดำเนินกิจการมากกว่า 10 ปี แต่กำไรของบริษัทไม่พอที่จะจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ของแบงก์ได้ต่อเนื่องกัน 3 ปี
หัวหน้าแบบ ลม และพระอาทิตย์
หัวหน้าแบบ ลม และพระอาทิตย์
นิทานเด็กยังสอนผู้ใหญ่ได้ หากค่อยๆอ่านและคิดตามไป อย่างเช่น เรื่องลมกับพระอาทิตย์ ก็เป็นเรื่องที่สอนภาวะผู้นำได้ดี ไม่แพ้หลักการใดเลย หากท่านใดลืมเนื้อหา เพราะเลยวัยเด็กมาเนิ่นนานแล้ว ผมก็ขอช่วยทวนคร่าวๆ ดังนี้ คงไม่ว่ากันนะครับ
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
คินสึงิ (Kintsugi) แนวคิดเปลี่ยนความล้มเหลวให้เป็นความงดงาม
"คินสึงิ (Kintsugi)" คือ แนวคิดหนึ่งที่ช่วยเยียวยา จิตใจบอบช้ำที่เกิดจากความล้มเหลว ให้กลับมาเข้มแข็งอีกครั้ง ความผิดพลาดในอดีตของคน หากรู้จักวิธีประสานรอยร้าวของจิตใจ ช่วงเวลาอันเจ็บปวดของชีวิตนั้น ก็ผันเป็นหนทางพัฒนาศักยภาพที่ตัวเองมีได้ เพียงกาวที่ใช้นั้น ไม่ใช่สสารทางกายภาพแต่เป็นชุดความคิด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
ทัศนคติการแก้ปัญหาแบบเพลงกบร้องเพราะท้องปวด
วงจรการโทษกันแบบ "กบร้องเพราะท้องปวด" มีเพื่ออธิบายเหตุผล ที่มาที่ไปของความผิดพลาดที่ "ดูเหมือนสมเหตุสมผล" แต่ก็ไม่ได้ช่วยให้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ไม่ต่างกับเพลงกบปวดท้อง ที่เริ่มอธิบายปัญหา และวนหาสาเหตุที่เกิดจากปัจจัยภายนอก ท้ายสุดมันก็วนมาที่จุดเริ่มต้น แล้ววนเป็นลูปใหม่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? เหตุผลของการกระทำแบบนี้ มีคำตอบเดียว คือ เป็นธรรมชาติของคน ที่มักอธิบายทุกสิ่งที่ตนทำไป เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีต่อใจ และดำรงไว้ซึ่งความภูมิใจในตนเอง แม้ว่าคำอธิบายนั้น มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
“Hate speech” คำนินทา เมื่อดราม่าอยู่รอบตัวเรา (ตอนที่ 1)
“Hate speech” คำนินทา เมื่อดราม่าอยู่รอบตัวเรา (ตอนที่ 1)
“วาจาคืออาวุธ จงใช้อาวุธให้ตัวเราเองรอดพ้นจากอันตรายแต่อย่าใช้มันเพื่อทำร้ายคนอื่น” การนินทาเป็น “Hate speech” หรือไม่เพราะถ้า Hate speech คือ วาจาที่สร้างความเกลียดชังและหวังผลในการทำร้ายจิตใจ
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?" เป็นคำถามสั้นๆ เหมือนตอบไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่ายที่จะตอบได้ บางคนจะอยู่กับตัวเองมาหลายสิบปี ก็อาจใช้เวลาเป็นสิบๆ นาที กว่าจะบรรยายได้ว่า ตัวเองเป็นคนแบบไหน นิสัยยังไง?
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ