1 - 7 of 7
5 แนวทางเพิ่มทักษะล้มแล้วลุกไว (Resilleince) ตามสไตล์ Harvard Business Review
5 แนวทางเพิ่มทักษะล้มแล้วลุกไว (Resilleince) ตามสไตล์ Harvard Business Review
Resilleince คือ อะไร? ในการทำงานยุคนี้ เราได้ยินคำนี้กันบ่อยๆ ครับ ส่วนใหญ่ก็จะใช้ทับศัพท์ เพื่ออธิบายถึงทักษะในการล้มแล้วต้องลุกให้เร็ว ความหมายตรงตัวของคำนี้ ก็คือ "ความยืดหยุ่น" แต่มันก็ไปพ้องกับ Flexible ที่แปลเหมือนกันว่า ความยืดหยุ่นด้วย แต่ Resilleince ต่างจาก Flexibility ตรงที่
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 4 Digital Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 4 Digital Skills)
ทักษะด้านดิจิทัลคืออะไร? เพราะหลายๆ ครั้งเราบอกทักษะดิจิทัลๆ มันกว้างจนหลายคนตีความในแบบที่ตัวเองเข้าใจ เช่น เขียนโปรแกรมบ้าง ใช้ Software เป็นบ้าง ฯลฯ ดังนั้น สำหรับตอนนี้ผมขอสรุปแบบง่ายเลยละกันว่า คุณจะต้องมี 3 ด้านนี้ คือ
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 2  <span style="background-color:#8CFFC6">Cognitive</span> Skills)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 2 Cognitive Skills)
"วิธีคิด" หรือ Cognitive Skills คือ ทักษะหมวดที่สอง เพื่อขอพาสปอร์ต สำหรับไปโลกใบใหม่ จากงานวิจัยของ McKinsey ครับ โลกยุคใหม่ เป็นโลกที่มีลักษณะเปราะบาง ไม่แน่นอน ซับซ้อน คลุมเครือ ทำให้เรามีแนวโน้มที่ต้องใช้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น ซึ่งจริงๆ แล้ว ทุกวันนี้ คนทุกคนก็สามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายกว่าเดิมเยอะมาก แต่....
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 1 Leadership)
McKinsey เผยลักษณะคนทำงานที่โลกยุคใหม่ต้องการ (ตอนที่ 1 Leadership)
งานวิจัยจาก McKinsey ได้ศึกษาเรื่องทักษะที่จำเป็นในโลกอนาคต จากคนจำนวน 18K ใน 15 ประเทศ แล้วสรุปลักษณะประชากรแห่งโลกใหม่ (Future-Citizen Skills) ไว้ว่า จะต้องมีทักษะที่จำเป็นทั้งหมด 13 ด้าน ซึ่งเมื่อแบ่งเป็นหมวดหมู่แล้วจะได้ทั้งหมด 4 กลุ่ม คือ
Future Skills For Uncertain World
Future Skills For Uncertain World
งานวิจัยจาก McKinsey ได้ศึกษาเรื่องทักษะที่จำเป็นในโลกอนาคต จากคนจำนวน 18K ใน 15 ประเทศ แล้วสรุปลักษณะประชากรแห่งโลกใหม่ (Future-Citizen Skills) ไว้ว่า จะต้องมีทักษะที่จำเป็นทั้งหมด 13 ด้าน ซึ่งเมื่อแบ่งเป็นหมวดหมู่แล้วจะได้ทั้งหมด 4 กลุ่ม คือ
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (<span style="background-color:#8CFFC6">Cognitive</span> Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? เหตุผลของการกระทำแบบนี้ มีคำตอบเดียว คือ เป็นธรรมชาติของคน ที่มักอธิบายทุกสิ่งที่ตนทำไป เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีต่อใจ และดำรงไว้ซึ่งความภูมิใจในตนเอง แม้ว่าคำอธิบายนั้น มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ
1 - 7 of 7