info@coachforgoal.com
02-946-5699
Home
About us
Our Solutions
Result-Based Programs
Leadership Signature Workshops
Thinking Mechanism Workshops
All Workshops
Our Service
Our Coach
Our Client
Blogs
Contact us
Home
Blogs
Blogs
141 - 150 of 155
«
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
(current)
16
»
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? (Cognitive Bias)
ทำไมคนเราจึงเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้สิ่งรอบข้าง? เหตุผลของการกระทำแบบนี้ มีคำตอบเดียว คือ เป็นธรรมชาติของคน ที่มักอธิบายทุกสิ่งที่ตนทำไป เพื่อให้ตัวเองรู้สึกดีต่อใจ และดำรงไว้ซึ่งความภูมิใจในตนเอง แม้ว่าคำอธิบายนั้น มันจะไม่สมเหตุสมผลก็ตาม
“Hate speech” คำนินทา ไม่ใช่แค่ดราม่าในออฟฟิศ (ตอนที่ 2)
การนินทานำมาซึ่งความไม่ไว้วางใจ และเมื่อ Trust ถูกทำลาย Engagement ภายในองค์กรก็ยิ่งเสื่อมถอย องค์กรใดไร้ Engagement ก็เปรียบเสมือนคนอยู่บ้านเดียวกันแต่ไม่เข้าใจและไม่สื่อสารกัน
“Hate speech” คำนินทา เมื่อดราม่าอยู่รอบตัวเรา (ตอนที่ 1)
“วาจาคืออาวุธ จงใช้อาวุธให้ตัวเราเองรอดพ้นจากอันตรายแต่อย่าใช้มันเพื่อทำร้ายคนอื่น” การนินทาเป็น “Hate speech” หรือไม่เพราะถ้า Hate speech คือ วาจาที่สร้างความเกลียดชังและหวังผลในการทำร้ายจิตใจ
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?"
"ตัวเราเป็นคนแบบไหน?" เป็นคำถามสั้นๆ เหมือนตอบไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่ายที่จะตอบได้ บางคนจะอยู่กับตัวเองมาหลายสิบปี ก็อาจใช้เวลาเป็นสิบๆ นาที กว่าจะบรรยายได้ว่า ตัวเองเป็นคนแบบไหน นิสัยยังไง?
Dunning-Krugger Effect: ยิ่งรู้น้อย ยิ่งเข้าใจว่าตัวเองเก่งมาก
ช่วงแรก ที่ไม่รู้อะไรเลย คนเรารู้ตัวดีว่ายังขาดความรู้ ต่อมา เมื่อเริ่มรู้เล็กน้อย หลายคนจะเกิดอาการ "ร้อนวิชา" และเข้าใจผิดว่า ตัวเองรู้มากเกินกว่าความเป็นจริง ความมั่นใจจะถาโถมเข้ามาจนล้นปรี่ บ้างก็คุยโวจนเป็นที่น่าหมั่นไส้ของเพื่อนๆ
กรณีศึกษาเมื่อมองโลกด้วยแว่นตาสีเทา โรคซึมเศร้าในมนุษย์เงินเดือน
เพราะในวัย 35-50ปี อาจจะเป็นช่วง Middle crisis หรือวิกฤติชีวิตวัยกลางคน ที่ใครหลายๆคนในช่วงอายุดังกล่าวต้องแบกรับความกดดัน ทั้งจากในเรื่องหน้าที่การงาน หนี้สิน ปัญหาทางบ้านและปัญหาสุขภาพที่เริ่มถามหาในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป
Defense Mechanisms ในที่ทำงาน
ในแต่ละวัน ที่ทำงานเราเต็มไปด้วยความเครียดทั้งจากตัวงานและตัวคน ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายองค์กรที่หนักอึ้ง ความคาดหวังและมาตรฐานการทำงานจากหัวหน้า หรือ ความขัดแย้งจากเพื่อนร่วมงานที่คิดต่างกัน ฯลฯ
ภาวะ “Burnout” ตอนที่ 3: กรณีศึกษา Brownout “ภาวะหมดใจ” แต่ไฟยังมี
“Brownout” เป็นอาการของคนทำงานที่รู้สึกเหนื่อยหน่ายไม่มีความสุข ทุกข์ทนกับเงื่อนไขและระบบขององค์กร และมักจะไม่แสดงอาการให้เห็น มีแต่เจ้าตัวที่รู้ว่า ตัวเองจะมีอาการเหมือนถูกกดดันตลอดเวลา
ภาวะ "Burnout" ตอนที่ 2: สาเหตุของการ Burnout
สาเหตุของการ Burnout นั้น ทาง Havard Business Review (HBR) พบว่า สาเหตุหลักๆ เกิดจาก
ภาวะ "Burnout" ตอนที่ 1: กรณีศึกษา "ภาวะหมดไฟ" หาใช่ใจอ่อนแอ
สำหรับมนุษย์เงินเดือนอย่างพวกเรา คงจะมีหลายๆครั้งในชีวิตการทำงานที่รู้สึกท้อแท้ เหนื่อยล้า ไม่สบายใจ วันจันทร์ทีไรน้ำตาจะไหลทุกที อย่าเพิ่งด่วนสรุปไปว่าเป็นอาการของโรคเกลียดวันจันทร์หรือ "I hate Monday syndrome" เพราะมันอาจจะลึกล้ำกว่านั้นก็เป็นได้
141 - 150 of 155
«
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
(current)
16
»
Our Solutions
Result-Based Programs
Leadership Signature Workshops
Thinking Mechanism Workshops
All Workshops